go to http://oracle.in.th

Wednesday, December 23, 2009

ขั้นตอนการ Install Fedora 12 (F12)

การ Install แบบพื้นฐาน

1. ทำการ Boot จาก Live CD และเมื่อเข้าสู่หน้าเริ่มต้นให้ทำการดับเบิลคลิกที่ "Install to Hard Drive" เพื่อเริ่มการ Install

















2. ข้ามขั้นตอนการทำ Media Test ไปโดยกด Tab เพื่อให้ Cursor เปลี่ยนไปที่ Skip และกดปุ่ม Return บน Keyboard













3. ที่หน้า Welcome Screen กด Next
















4. เลือกภาษาที่เหมาะสม จากนั้นกด Next
















5. เลือกรูปแบบของ Keyboard ที่เหมาะสม จากนั้นกด Next
















6. เมื่อพบข้อความเตือนดังภาพ ให้กดปุ่ม "Re-initialize drive"
















7. ใส่ Hostname ที่ถูกต้อง จากนั้นกด Next
















8. เลือก Timezone ที่เหมาะสม โดยการคลิกที่เมืองที่ใกล้กับเราที่สุดในแผนที่ จากนั้นกด Next
















9. ใส่ Root Password จากนั้นกด Next
















10. เอาเครื่องหมายถูกหน้า "Encrypt system" ออก และ Check เครื่องหมายถูกหน้า "Review and modify partitioning layout" จากนั้นกด Next
















11. หน้าจอจะแสดงแผนผังของการแบ่ง Partition ถ้า OS นี้จะมีการใช้งาน Oracle ให้ตรวจสอบให้แน่ใจว่า มี swap partition อย่างต่ำ 2G (2048M) เพื่อรองรับการทำงานของ Oracle Installation เมื่อปรับค่าจนพอใจแล้วให้กด Next ตามด้วย "Format" และ "Write changes to disk" ตามลำดับ
















12. กด Next โดยปล่อยให้ค่าต่างๆเป็นไปตาม Default
















13. เลือก Package ที่เหมาะสมและ Check เครื่องหมายถูกที่ Additional repositories ทั้ง 3 อัน
















14. หลังจากกดเลือก Repository จะต้องทำการใส่ค่า Network Configuration ให้ใส่ค่าที่เหมาะสมและกด OK
















15. หลังจากทำการเลือก Repository ทั้งหมดแล้ว ให้เลือก "Customize Now" และกด Next
















16. เลือก Package Group และ Optional Package ที่เหมาะสมสำหรับการใช้งาน จากนั้นกด Next
















17. รอจนกระทั่งการ Installation เสร็จสิ้น
















18. เมื่อทำการ Install เสร็จแล้วให้ทำการ Restart เครื่อง เมื่อเครื่องทำการ Boot ขึ้นมาแล้วจะพบ Welcome Screen ให้กด Forward
















19. กด Forward เพื่อยอมรับ License agreement
















20. ใส่รายละเอียดของ User ที่จะทำการ Login จากนั้นกด Forward
















21. กำหนดค่า วันและเวลาให้เหมาะสม จากนั้นกด Forward
















22. ให้เลือกว่าต้องการส่ง Hardware Profile ไปให้กับทาง Fedora Project หรือไม่ จากนั้นกด Finish
















23. กด Other จากนั้นให้ Login ด้วย Username ที่ได้กำหนดไว้ก่อนหน้านี้
















24. ใส่ Password และกด Login
















25. หลังจาก Login เข้ามาแล้วจะพบหน้าจอ Default Desktop ของ Fedora
















การกำหนดค่า Network Configuration

ถ้าได้ทำตามขั้นตอนการ Installation มาก่อนหน้านี้แล้ว ในส่วนนี้ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องแก้ไขแล้วเพราะได้ทำไปในขั้นตอนที่เลือก Repository แล้ว

- ถ้าคุณใช้ DHCP ในระบบเครือข่ายของคุณ ให้ข้ามขั้นตอนเหล่านี้ไป แต่ถ้าไม่ได้ใช้ DHCP ให้คลิกเมนู "System > Administration > Network" จะพบในส่วนของ "Network Configuration" และในส่วนของแท็บ "Devices" เลือกที่ "eth0" จากนั้นกด Edit





















- ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ทำการ Check เครื่องหมายถูกที่ "Controlled by NetworkManager" และ "Activate device when computer starts" จากนั้นให้เลือก "Statically set IP addresses" และใส่หมายเลข IP, Subnet Mask, Default Gateway และ Primary DNS ที่เหมาะสมลงไป จากนั้นกด OK





















- กดแท็บ "DNS" และใส่ Hostname กับ DNS ที่เหมาะสม จากนั้นกลับมายังแท็บ "Devices"

- กดเมนู "File > Save" เป็นอันเสร็จสิ้นการกำหนดค่า


การปรับแต่ง Software

คุณสามารถทำการปรับแต่ง Package ที่ Install ไว้ได้ โดยใช้ส่วนของ "Add/Remove Software" โดยคลิกที่เมนู "System > Administration >Add/Remove Software"














SELinux

- ถ้าใน OS นี้จะมีการใช้งาน Oracle Installation ควรจะทำการ Disable ในส่วนของ Secure Linux (SELinux) เพื่อให้ทำงานได้ง่ายขึ้น โดยเข้าไปที่เมนู "System > Administration > SELinux Management" ที่แท็บ Status ให้เลือก "System Default Enforcing Mode" เป็น "Disabled"














- กดเมนู "File > Quit" เพื่อทำการออกจากหน้าจอ จากนั้นให้ Restart เครื่องเป็นอันเสร็จสิ้น


Firewall

- ถ้าใน OS นี้จะมีการใช้งาน Oracle Installation ควรจะทำการ Disable ในส่วนของ Firewall เพื่อให้ทำงานได้ง่ายขึ้น โดยเข้าไปที่ เมนู "System >Administration > Firewall" จะปรากฏหน้าจอ Firewall Configuration ให้กดปุ่ม "Disable" ที่ Toolbar จากนั้นกด "Apply"
















- จะมีกล่องข้อความเตือน กด "Yes"
















- กดเมนู "File > Quit" เพื่อทำการออกจากหน้าจอ เป็นอันเสร็จสิ้น


SSH

- คุณสามารถทำการ Enable/Disable SSH ได้ โดยใช้ส่วนของ "Services" โดยคลิกที่เมนู "System > Administration > Services" จะพบหน้าจอ "Service Configuration" จากนั้นให้เลือก Service ที่ชื่อ "sshd" แล้วจะสามารถกดปุ่ม "Enable/Disable" และ "Start/Stop/Restart" ได้ตามที่ต้องการ













- กดเมนู "File > Quit" เพื่อทำการออกจากหน้าจอ เป็นอันเสร็จสิ้น
ข้อเขียนนี้ช่วยฉัน:  

1 comment:

Kim said...

ถ้าจำไม่ผิด
fedora เป็น community project ของ Red Hat
ถ้าอย่างนั้น แสดงว่า เราสามารถนำ fedora มาใช้งานกับ Oracle แทน Red Hat ได้ ใช่หรือไม่ครับ?

Post a Comment